ตัวก่อความเครียดที่เป็นกลาง ของ ความเครียด (จิตวิทยา)

ความเครียดเป็นการตอบสนองต่อสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่เฉพาะเจาะจง[8] คือเป็นกลาง แต่ก็จะต่าง ๆ กันในระดับการตอบสนองมันเกี่ยวกับบริบทของบุคคลและว่า บุคคลมองสถานการณ์นั้นอย่างไร นพ. เซ็ลเยได้นิยามความเครียดว่า "ผลที่ไม่เฉพาะเจาะจง (คือ สามัญ) ต่อความจำเป็นที่เกิดต่อร่างกาย ไม่ว่าจะทางจิตใจหรือทางกาย"[8] นิยามนี้ครอบคลุมนิยามทางการแพทย์ที่กำหนดว่าเป็นความจำเป็นทางกาย และครอบคลุมนิยามของภาษาพูดโดยทั่วไปว่า เป็นความจำเป็นทางจิตใจ

แม้ตัวก่อความเครียดก็เป็นกลางโดยธรรมชาติเหมือนกัน คือ อาจทำให้ตอบสนองเป็นความเครียดที่ดีหรือไม่ดีก็ได้โดยขึ้นอยู่กับบุคคลว่าจะทำให้เป็นความเครียดที่ดีหรือไม่ดี[31]

แหล่งที่มา

WikiPedia: ความเครียด (จิตวิทยา) http://www.collinsdictionary.com/dictionary/englis... http://blog.ted.com/could-stress-be-good-for-you-r... http://www.ttgmice.com/article/cwt-rolls-out-solut... http://oregonstate.edu/instruct/dce/hhs231_w04/nin... http://www.cla.purdue.edu/academic/engl/theory/psy... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2568977 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3374921 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3871742 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4253863 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11392869